À propos de la propriété intellectuelle Formation en propriété intellectuelle Respect de la propriété intellectuelle Sensibilisation à la propriété intellectuelle La propriété intellectuelle pour… Propriété intellectuelle et… Propriété intellectuelle et… Information relative aux brevets et à la technologie Information en matière de marques Information en matière de dessins et modèles industriels Information en matière d’indications géographiques Information en matière de protection des obtentions végétales (UPOV) Lois, traités et jugements dans le domaine de la propriété intellectuelle Ressources relatives à la propriété intellectuelle Rapports sur la propriété intellectuelle Protection des brevets Protection des marques Protection des dessins et modèles industriels Protection des indications géographiques Protection des obtentions végétales (UPOV) Règlement extrajudiciaire des litiges Solutions opérationnelles à l’intention des offices de propriété intellectuelle Paiement de services de propriété intellectuelle Décisions et négociations Coopération en matière de développement Appui à l’innovation Partenariats public-privé Outils et services en matière d’intelligence artificielle L’Organisation Travailler avec nous Responsabilité Brevets Marques Dessins et modèles industriels Indications géographiques Droit d’auteur Secrets d’affaires Académie de l’OMPI Ateliers et séminaires Application des droits de propriété intellectuelle WIPO ALERT Sensibilisation Journée mondiale de la propriété intellectuelle Magazine de l’OMPI Études de cas et exemples de réussite Actualités dans le domaine de la propriété intellectuelle Prix de l’OMPI Entreprises Universités Peuples autochtones Instances judiciaires Ressources génétiques, savoirs traditionnels et expressions culturelles traditionnelles Économie Égalité des genres Santé mondiale Changement climatique Politique en matière de concurrence Objectifs de développement durable Technologies de pointe Applications mobiles Sport Tourisme PATENTSCOPE Analyse de brevets Classification internationale des brevets Programme ARDI – Recherche pour l’innovation Programme ASPI – Information spécialisée en matière de brevets Base de données mondiale sur les marques Madrid Monitor Base de données Article 6ter Express Classification de Nice Classification de Vienne Base de données mondiale sur les dessins et modèles Bulletin des dessins et modèles internationaux Base de données Hague Express Classification de Locarno Base de données Lisbon Express Base de données mondiale sur les marques relative aux indications géographiques Base de données PLUTO sur les variétés végétales Base de données GENIE Traités administrés par l’OMPI WIPO Lex – lois, traités et jugements en matière de propriété intellectuelle Normes de l’OMPI Statistiques de propriété intellectuelle WIPO Pearl (Terminologie) Publications de l’OMPI Profils nationaux Centre de connaissances de l’OMPI Série de rapports de l’OMPI consacrés aux tendances technologiques Indice mondial de l’innovation Rapport sur la propriété intellectuelle dans le monde PCT – Le système international des brevets ePCT Budapest – Le système international de dépôt des micro-organismes Madrid – Le système international des marques eMadrid Article 6ter (armoiries, drapeaux, emblèmes nationaux) La Haye – Le système international des dessins et modèles industriels eHague Lisbonne – Le système d’enregistrement international des indications géographiques eLisbon UPOV PRISMA UPOV e-PVP Administration UPOV e-PVP DUS Exchange Médiation Arbitrage Procédure d’expertise Litiges relatifs aux noms de domaine Accès centralisé aux résultats de la recherche et de l’examen (WIPO CASE) Service d’accès numérique aux documents de priorité (DAS) WIPO Pay Compte courant auprès de l’OMPI Assemblées de l’OMPI Comités permanents Calendrier des réunions WIPO Webcast Documents officiels de l’OMPI Plan d’action de l’OMPI pour le développement Assistance technique Institutions de formation en matière de propriété intellectuelle Mesures d’appui concernant la COVID-19 Stratégies nationales de propriété intellectuelle Assistance en matière d’élaboration des politiques et de formulation de la législation Pôle de coopération Centres d’appui à la technologie et à l’innovation (CATI) Transfert de technologie Programme d’aide aux inventeurs WIPO GREEN Initiative PAT-INFORMED de l’OMPI Consortium pour des livres accessibles L’OMPI pour les créateurs WIPO Translate Speech-to-Text Assistant de classification États membres Observateurs Directeur général Activités par unité administrative Bureaux extérieurs Avis de vacance d’emploi Achats Résultats et budget Rapports financiers Audit et supervision
Arabic English Spanish French Russian Chinese
Lois Traités Jugements Parcourir par ressort juridique

Thaïlande

TH032

Retour

พระราชบัญญัติ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่๖) พ.ศ. ๒๕๔๘

 untitled

หนา ๓๓ เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๑๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๔ กุมภาพันธ ๒๕๔๘

พระราชบัญญัติ มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (ฉบับที่ ๖)

พ.ศ. ๒๕๔๘

ภูมิพลอดลุยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘

เปนปที่ ๖๐ ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ให

ประกาศวา โดยที่เปนการสมควรแกไขเพิ่มเติมกฎหมายวาดวยมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล

ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๕ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของ รัฐสภา ดังตอไปนี้

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้ เรียกวา “พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๔๘” ๒๕๔ มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป

มาตรา ๓ ใหเพิ่มความตอไปนี้เปน (๒/๑) ของมาตรา ๔ แหงพระราชบัญญัติมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑

หนา ๓๔ เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๑๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๔ กุมภาพันธ ๒๕๔๘

“(๒/๑) ทําความตกลงกับหนวยงานของตางประเทศเกี่ยวกับการใหการรับรองการตรวจสอบ หรือรับรองผลิตภัณฑอุตสาหกรรมตามมาตรา ๒๐ จัตวา”

มาตรา ๔ ใหยกเลิกความในมาตรา ๕ และมาตรา ๖ แหงพระราชบัญญัติมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑ ซึ่ งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญั ติมาตรฐานผลิตภัณฑ อุตสาหกรรม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๑ และใหใชความตอไปนี้แทน

“มาตรา ๕ รัฐมนตรีมีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษาโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ กําหนดใหสวนราชการ องคการของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หนวยงานของรัฐหรือหนวยงานอื่นทั้งในประเทศ และตางประเทศเปนผูตรวจสอบการทําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมหรือเปนผูตรวจสอบผลิตภัณฑอุตสาหกรรม เพ่ือเสนอคณะกรรมการวาเปนไปตามมาตรฐานหรือไม

มาตรา ๖ รัฐมนตรีมีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดอัตราคาใชจายในการตรวจสอบ การทําผลิตภัณฑอุตสาหกรรม หรือตรวจสอบผลิตภัณฑอุตสาหกรรมหรือวัตถุตามมาตรา ๑๖ มาตรา ๒๐ มาตรา ๒๐ ทวิ มาตรา ๒๑ มาตรา ๒๑ ทวิ และมาตรา ๔๔ (๑) เฉพาะผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ ใชเครื่องหมายมาตรฐานตามมาตรา ๑๖ หรือท่ีไดรับใบอนุญาตหรือไดรับอนุญาตตามมาตรา ๒๐ มาตรา ๒๐ ทวิ มาตรา ๒๑ หรือมาตรา ๒๑ ทวิ แลวแตกรณี

คาใชจายในการตรวจสอบการทําผลิตภัณฑอุตสาหกรรม หรือตรวจสอบผลิตภัณฑอุตสาหกรรม หรือวัตถุตามวรรคหนึ่ง ใหเรียกเก็บจากผูขอรับใบอนุญาต ผูรับใบอนุญาต ผูรับอนุญาต ผูทํา ผูนํา เขา ผูจําหนาย หรือผูมีไวเพื่อจําหนาย แลวแตกรณี”

มาตรา ๕ ใหยกเลิกความในมาตรา ๑๘ และมาตรา ๑๙ แหงพระราชบัญญัติมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑ และใหใชความตอไปนี้แทน

“มาตรา ๑๘ กอนตราพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา ๑๗ ใหสํานักงานจัดใหมีการรับฟง ความคิดเห็นของตัวแทนของกลุมผูมีสวนไดเสียหรือผูมีประโยชนเกี่ยวของ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและ วิธีการที่คณะกรรมการกําหนด

มาตรา ๑๙ เมื่อไดจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นตามมาตรา ๑๘ แลว ใหสํานักงานนําผล การรับฟงความคิดเห็นนั้นมาประกอบการพิจารณาดําเนินการตราพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา ๑๗ ตอไป”

มาตรา ๖ ใหยกเลิกความในมาตรา ๒๐ ทวิ แหงพระราชบัญญั ติมาตรฐานผลิตภัณฑ อุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๒ และใหใชความตอไปนี้แทน

“มาตรา ๒๐ ทวิ ในกรณีที่มีความจําเปนตองทําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่แตกตางไปจาก มาตรฐานที่กําหนด เพื่อใชในราชอาณาจักรเปนครั้งคราว รัฐมนตรีจะอนุญาตเปนการเฉพาะคราว

หนา ๓๕ เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๑๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๔ กุมภาพันธ ๒๕๔๘

ใหผูรับใบอนุญาตตามมาตรา ๒๐ ทําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่มีพระราชกฤษฎีกากําหนดใหตอง เปนไปตามมาตรฐาน ตามมาตรฐานของตางประเทศหรือมาตรฐานระหวางประเทศ ไมวาจะต่ํากวา หรือสูงกวามาตรฐานตามพระราชบัญญัตินี้ก็ได

มาตรฐานของตางประเทศหรือมาตรฐานระหวางประเทศตามวรรคหนึ่งจะตองไดรับความ เห็นชอบจากคณะกรรมการ และการทําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมดังกลาวจะตองเปนไปตามหลักเกณฑ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนด”

มาตรา ๗ ใหเพ่ิมความตอไปนี้เปนมาตรา ๒๐ ตรี มาตรา ๒๐ จัตวา และมาตรา ๒๐ เบญจ แหงพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑

“มาตรา ๒๐ ตรี เมื่อมีความจําเปนตองทําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่แตกตางไปจากมาตรฐาน ที ่กําหนดเพื ่อประโยชนในการสงออก ใหผู ทําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที ่ม ีพระราชกฤษฎีกา กําหนดใหตองเปนไปตามมาตรฐาน แจงตอสํานักงานกอนเริ่มทําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนั้นและตอง ปฏิบัติตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนด

เมื่อไดรับแจงตามวรรคหนึ่ง ใหสํานักงานออกใบรับแจงเพื่อเปนหลักฐานการแจงใหแกผูแจง ในวันที่ไดรับแจง และใหผูแจงเริ่มทําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมไดต้ังแตวันที่ไดรับใบรับแจง

มาตรา ๒๐ จัตวา ในกรณีที่มีขอกําหนดของตางประเทศหรือขอตกลงระหวางประเทศ หรอื สัญญาระหวางผูสงออกและผูนําเขากําหนดใหผลิตภัณฑอุตสาหกรรมใดเปนไปตามมาตรฐาน หรือกฎเกณฑของตางประเทศหรือระหวางประเทศ จึงจะนําเขาผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนั้นได สํานักงานอาจทําความตกลงกับหนวยงานของตางประเทศเกี่ยวกับการใหการรับรองการตรวจสอบ หรือรับรองผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนั้นไดตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนด ไมวา ผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนั้นจะมีพระราชกฤษฎีกากําหนดใหตองเปนไปตามมาตรฐานหรือไมก็ตาม และไมวาหนวยงานของตางประเทศนั้นจะเปนหนวยงานของรัฐหรือเอกชนก็ตาม

มาตรา ๒๐ เบญจ การตรวจสอบหรือรับรองเกี่ยวกับมาตรฐานตามพระราชบัญญัตินี้ คณะกรรมการจะประกาศยอมรับมาตรฐานหรือการตรวจสอบหรือรับรองที ่กําหนดขึ ้นหรือ ดําเนินการโดยหนวยงานอื่น หรือมอบหมายหนวยงานอื่นใหดําเนินการตรวจสอบหรือรับรอง หรือกระทําการใดที่เกี่ยวเน่ืองกับการตรวจสอบหรือรับรองก็ได ไมวาหนวยงานนั้นจะตั้งอยูในประเทศ หรือตางประเทศหรือเปนหนวยงานของรัฐหรือเอกชนก็ตาม ทั้งนี้ โดยประกาศมาตรฐาน รายชื่อของ หนวยงานที่ดําเนินการตรวจสอบหรือรับรอง ชนิดของผลิตภัณฑอุตสาหกรรม หองปฏิบัติการ และขอบเขตของการตรวจสอบหรือรับรองที่เกี่ยวของในราชกิจจานุเบกษา”

หนา ๓๖ เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๑๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๔ กุมภาพันธ ๒๕๔๘

มาตรา ๘ ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา ๒๑ ตรี แหงพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ อุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑

“มาตรา ๒๑ ตรี การอนุญาตตามมาตรา ๒๐ ทวิ หรือมาตรา ๒๑ ทวิ รัฐมนตรีอาจมอบอํานาจ ใหเลขาธิการสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมเปนผูอนุญาตแทนได”

มาตรา ๙ ใหเพ่ิมความตอไปนี้เปนวรรคสี่ของมาตรา ๓๓ แหงพระราชบัญญัติมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรมพ.ศ. ๒๕๑๑ ซึ่ งแก ไขเพิ่ มเติ มโดยพระราชบั ญญั ติ มาตรฐานผลิ ต ภัณฑ อุตสาหกรรม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๒

“ในกรณีที่มีการแจงเพื่อทําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่แตกตางไปจากมาตรฐานที่กําหนดตาม มาตรา ๒๐ ตรี ใหผูแจงแสดงเครื่องหมายหรือขอความวาผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนั้นเปนผลิตภัณฑ อุตสาหกรรมเพื่อการสงออกตามที่คณะกรรมการกําหนดกอนนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมออกจาก สถานที่ผลิต”

มาตรา ๑๐ ให เพิ่มความตอไปนี้ เปนมาตรา ๓๖/๑ แหงพระราชบัญญั ติมาตรฐานผลิตภัณฑ อุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑

“มาตรา ๓๖/๑ หามมิใหผูใดโฆษณา จําหนาย หรือมีไวเพ่ือจําหนายซึ่งผลิตภัณฑอุตสาหกรรม โดยรูอยูวาเปนผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ทําขึ้นเพื่อการสงออกตามมาตรา ๒๐ ตรี เวนแตเปนการ จําหนายเพื่อการสงออก”

มาตรา ๑๑ ใหเพ่ิมความตอไปนี้เปนมาตรา ๓๙ ตรี แหงพระราชบัญญัติมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑

“มาตรา ๓๙ ตรี เลขาธิการสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมมีอํานาจสั่งเพิกถอน ใบรับแจงตามมาตรา ๒๐ ตรี เมื่อปรากฏวาผูแจงไมสงออกซึ่งผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ทําขึ้น ไมวาในกรณีใด ๆ หรือสงออกแลวแตถูกสงกลับเขามาในราชอาณาจักรอีก หรือไมปฏิบัติตาม มาตรา ๓๓ วรรคสี่ หรือหลักเกณฑหรือเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนดตามมาตรา ๒๐ ตรี”

มาตรา ๑๒ ใหยกเลิกความในมาตรา ๔๑ แหงพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๒๒ และใหใชความตอไปนี้แทน

“มาตรา ๔๑ คําสั่งตามมาตรา ๓๗ มาตรา ๓๙ มาตรา ๓๙ ทวิ หรือมาตรา ๓๙ ตรี ใหสํานักงานแจงเปนหนังสือใหผูถูกสั่งพักใชใบอนุญาต เพิกถอนใบอนุญาต เพิกถอนการอนุญาต หรือเพิกถอนใบรับแจงทราบ ในกรณีที่ไมพบตัวผูถูกสั่งดังกลาว ใหปดหนังสือไว ณ สถานที่ที่ระบุ

หนา ๓๗ เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๑๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๔ กุมภาพันธ ๒๕๔๘

ไวในใบอนุญาต หนังสืออนุญาต หรือใบรับแจง แลวแตกรณี และใหถือวาผูนั้นไดทราบคําสั่งนั้น แลวต้ังแตวันปดหนังสือ”

มาตรา ๑๓ ใหยกเลิกความใน (๓) ของมาตรา ๔๔ แหงพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ อุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๑ และใหใชความตอไปนี้แทน

“(๓) ยึดหรืออายัดผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่มีเหตุอันควรเชื่อวา (ก) ไมเปนไปตามมาตรา ๑๖ มาตรา ๒๐ มาตรา ๒๐ ทวิ มาตรา ๒๐ ตรี มาตรา

๒๑ มาตรา ๒๑ ทวิ มาตรา ๒๙ หรือมาตรา ๓๓ วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง (ข) ไมเปนไปตามหลักเกณฑหรือเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนดตามมาตรา ๒๐ ทวิ

วรรคสอง มาตรา ๒๐ ตรี วรรคหนึ่ง หรือมาตรา ๒๑ ทวิ วรรคสอง (ค) เปนผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ใชหรือแสดงเครื่องหมายมาตรฐานอันเปนการฝาฝน

มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๒ หรือมาตรา ๓๕ หรือ (ง) เปนผลิตภัณฑอุตสาหกรรมเพื่อการสงออกที่ถูกเพิกถอนใบรับแจงตามมาตรา ๓๙

ตรี” มาตรา ๑๔ ใหเพ่ิมความตอไปนี้เปน (๒/๑) ของมาตรา ๔๖ แหงพระราชบัญญัติมาตรฐาน

ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๑

“(๒/๑) ในกรณีที่เปนผลิตภัณฑอุตสาหกรรมเพื่อการสงออกที่ถูกเพิกถอนใบรับแจงตาม มาตรา ๓๙ ตรี คณะกรรมการอาจสั่งใหทําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนั้นใหสิ้นสภาพได”

มาตรา ๑๕ ใหยกเลิกความในมาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๘ ทวิ แหงพระราชบัญญัติ มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ อุตสาหกรรม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๑ และใหใชความตอไปนี้แทน

“มาตรา ๔๘ ผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๒๐ หรือมาตรา ๒๑ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสอง ป หรือปรับไมเกินหนึ่งลานบาท หรือท้ังจําทั้งปรับ

มาตรา ๔๘ ทวิ ผูใดทําหรือนําเขามาในราชอาณาจักรซึ่งผลิตภัณฑอุตสาหกรรมตาม มาตรา ๒๐ ทวิ วรรคหนึ่ง มาตรา ๒๐ ตรี วรรคหนึ่ง หรือมาตรา ๒๑ ทวิ วรรคหนึ่ง โดยไมไดรับ อนุญาตหรือไมไดแจง หรือฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามหลักเกณฑหรือเงื ่อนไขที่คณะกรรมการ กําหนดตามมาตรา ๒๐ ทวิ วรรคสอง มาตรา ๒๐ ตรี วรรคหนึ่ง หรือมาตรา ๒๑ ทวิ วรรคสอง แลวแตกรณี หรือไมปฏิบัติตามมาตรา ๓๓ วรรคสองหรือวรรคสี่ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินหนึ่งลานบาท หรือท้ังจําทั้งปรับ”

มาตรา ๑๖ ใหเพิ่มความตอไปนี้ เปนมาตรา ๔๘ ตรี แหงพระราชบัญญัติมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑

หนา ๓๘ เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๑๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๔ กุมภาพันธ ๒๕๔๘

“มาตรา ๔๘ ตรี ผูใดทํารายงานการตรวจสอบการทําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมหรือการ ตรวจสอบมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมขึ้นทั้งฉบับหรือแตสวนหนึ่งสวนใด เติม หรือตัดทอน ขอความ หรือแกไขดวยประการใดในรายงานดังกลาวอันเปนเท็จ เพ่ือใหผูหนึ่งผูใดหลงเชื่อวาการทําผลิตภัณฑ อุตสาหกรรมหรือผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนั้นเปนไปตามมาตรฐาน ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหกเดือน ถึงหาป และปรับตั้งแตสองแสนบาทถึงสองลานบาท”

มาตรา ๑๗ ใหยกเลิกความในมาตรา ๕๐ และมาตรา ๕๑ แหงพระราชบัญญัติมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๑ และใหใชความตอไปนี้แทน

“มาตรา ๕๐ ผูรับใบอนุญาตผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๒๔ มาตรา ๒๕ มาตรา ๒๘ มาตรา ๓๓ วรรคหนึ่ง หรือมาตรา ๓๔ ตองระวางโทษปรับตั้งแตสามหมื่นบาทถึงสามแสนบาท

มาตรา ๕๑ ผูรับใบอนุญาตผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๒๙ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินหนึ่งลานบาท หรือท้ังจําทั้งปรับ”

มาตรา ๑๘ ใหยกเลิกความในมาตรา ๕๒ แหงพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑ และใหใชความตอไปนี้แทน

“มาตรา ๕๒ ผูใดฝาฝนมาตรา ๓๑ หรือมาตรา ๓๒ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสาม เดือน หรือปรับตั้งแตหนึ่งแสนบาทถึงหนึ่งลานบาท หรือท้ังจําทั้งปรับ”

มาตรา ๑๙ ใหยกเลิกมาตรา ๕๓ แหงพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑

มาตรา ๒๐ ใหยกเลิกความในมาตรา ๕๔ แหงพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๑ และใหใชความตอไปนี้แทน

“มาตรา ๕๔ ผูรับใบอนุญาตผูใดฝาฝนมาตรา ๓๕ ตองระวางโทษดังตอไปนี้ (๑) ในกรณีที่เปนผูรับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๖ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามเดือน

หรือปรับตั้งแตหนึ่งแสนบาทถึงหนึ่งลานบาท หรือท้ังจําทั้งปรับ (๒) ในกรณีที่เปนผูรับใบอนุญาตตามมาตรา ๒๐ หรือมาตรา ๒๑ ตองระวางโทษจําคุก

ไมเกินสองป หรือปรับไมเกินหนึ่งลานบาท หรือท้ังจําทั้งปรับ” มาตรา ๒๑ ใหยกเลิกความในมาตรา ๕๕ แหงพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

พ.ศ. ๒๕๑๑ และใหใชความตอไปนี้แทน

หนา ๓๙ เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๑๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๔ กุมภาพันธ ๒๕๔๘

“มาตรา ๕๕ ผูใดฝาฝนมาตรา ๓๖ หรือมาตรา ๓๖/๑ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่ง เดือน หรือปรับตั้งแตหาพันบาทถึงหาหมื่นบาท หรือท้ังจําทั้งปรับ”

มาตรา ๒๒ ใหยกเลิกความในมาตรา ๕๗ ตรี แห งพระราชบัญญั ติ มาตรฐานผลิ ตภัณฑ อุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๑ และใหใชความตอไปนี้แทน

“มาตรา ๕๗ ตรี บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ที่มีโทษปรับสถานเดียว หรือมีโทษ ปรับหรือโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือน ใหเลขาธิการสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมหรือพนักงาน เจาหนาที่ซึ่งเลขาธิการสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมมอบหมายมีอํานาจเปรียบเทียบได

เมื่อผูกระทําความผิดไดเสียคาปรับตามที่เปรียบเทียบแลว ใหถือวาคดีเลิกกันตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา”

มาตรา ๒๓ ใหยกเลิกอัตราคาธรรมเนียมทายพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑ และใหใชอัตราคาธรรมเนียมทายพระราชบัญญัตินี้แทน

มาตรา ๒๔ บรรดาประกาศที่ออกตามมาตรา ๕ หรือมาตรา ๖ แหงพระราชบัญญัติ มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑ ที่ใชบังคับอยูกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหยังคงใชบังคับไดตอไปเทาที่ไมขัดหรือแยงกับบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้ จนกวาจะมี ประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัตินี้ในเรื่องนั้น ๆ ใชบังคับ

มาตรา ๒๕ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงอตุสาหกรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ พันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร

นายกรัฐมนตรี

อัตราคาธรรมเนียม

(๑) ใบอนุญาตตามมาตรา ๑๖ ฉบับละ ๑๐,๐๐๐ บาท

(๒) ใบอนุญาตตามมาตรา ๒๐ ฉบับละ ๑๐,๐๐๐ บาท

(๓) ใบอนุญาตตามมาตรา ๒๑ ฉบับละ ๑๐,๐๐๐ บาท

(๔) ใบอนุญาตตามมาตรา ๒๔ ฉบับละ ๕,๐๐๐ บาท

(๕) ใบอนุญาตตามมาตรา ๒๕ ฉบับละ ๕,๐๐๐ บาท

(๖) ใบแทนใบอนุญาต ฉบับละ ๑,๐๐๐ บาท

หนา ๔๐ เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๑๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๔ กุมภาพันธ ๒๕๔๘

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑ ในสวนที่เกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ อุตสาหกรรมและคณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมยังไมครอบคลุมถึงอํานาจทําความตกลง กับตางประเทศเกี่ยวกับการใหการรับรองการตรวจสอบและรับรองผลิตภัณฑอุตสาหกรรม การตรวจสอบ การทําผลิตภัณฑอุตสาหกรรม หรือการยอมรับมาตรฐานหรือการตรวจสอบเกี่ยวกับมาตรฐานในเรื่อง ดังกลาว ประกอบกับสมควรลดขั้นตอนการตราพระราชกฤษฎีกากําหนดใหผลิตภัณฑอุตสาหกรรมตอง เปนไปตามมาตรฐานในปจจุบัน เพื่อใหสามารถเรงรัดการกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมไดทัน ตอสภาพสังคมที่มีการแขงขันและเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ตลอดจนปรับปรุงขั้นตอนในการสงออกจาก ระบบอนุญาตเปนระบบแจงซ่ึงจะไมสงผลกระทบดานคุณภาพของผลิตภัณฑอุตสาหกรรม เนื่องจากการ ทําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมพื่อการสงออกจะตองเปนไปตามมาตรฐานของประเทศผูนําเขาอยูแลว นอกจากนี้ อัตราโทษสําหรับความผิดบางประการและอัตราคาธรรมเนียมที่ใชอยูในปจจุบันยังไมเหมาะสม รวมทั้งการมอบอํานาจของรัฐมนตรียังไมมีความชัดเจน สมควรแกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติในเรื่องดังกลาว ใหเหมาะสมยิ่งขึ้น จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้